Flowchart (รูปแบบการเขียนผังงาน)
การเขียนผังงานนั้นไม่มีกฎเกณฑ์ในการเขียนหรือวิธีการระบุอย่างชัดเจนว่าจะต้องเขียนอย่างไร ซึ่งรูปแบบค่อนข้างเป็นอิสระขึ้นอยู่กับโจทย์หรือปัญหาของแต่ละงาน ดังนั้นจึงเกิดแนวคิดการเขียนผังงานโดยให้อยู่ในรูปแบบที่มีโครงสร้าง (structure flowchart) ซึ่งรูปแบบของ ผังงานแบบมีโครงสร้างจะช่วยทำให้ควบคุมกิจกรรม จะใช้หลักการแบ่งย่อยหรือการจัดลำดับชั้น ที่มีความชัดเจน และดูเป็นระเบียบมากขึ้นกว่าผังงานธรรมดา ซึ่งเทคนิคโครงสร้างนี้จะช่วยทำให้การเขียนโปรแกรมง่ายยิ่งขึ้นเพราะอยู่ในรูปแบบของโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ โดยผังงาน แบ่งออกเป็น 3 รูปแบบ คือ แบบลำดับ แบบเลือกทำ และแบบทำซ้ำ
1. ผังงานแบบลำดับ
ผังงานแบบลำดับ (sequential flowchart) เป็นผังงานที่มีโครงสร้างการกระทำตามลำดับกิจกรรมก่อนหลังที่เรียงเป็นลำดับต่อเนื่องกันไปเรื่อย ๆ การเขียนผังงานแบบลำดับจะเป็นโครงสร้างที่ง่ายที่สุดเหมาะสำหรับงานที่ไม่มีความซับซ้อน ไม่มีการตรวจสอบเงื่อนไข และไม่ต้องการทำงานซ้ำ ๆ แต่ในบางครั้งผังงานแบบลำดับมักจะไปรวมอยู่ในผังงานแบบเลือก และแบบทำซ้ำในกรณีที่มีกิจกรรมทำงานต่อเนื่องกันไปเรื่อย ๆ โดยส่วนมากจะเป็นการจัดวาง กิจกรรมจากบนลงล่าง และจากซ้ายไปขวา
2. การทำงานแบบทางเลือก
การทำงานแบบทางเลือก (Selection) หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า การทำงานแบบตัดสินใจ (Decision) นั่นคือเราสามารถให้โปรแกรมเลือกทำงานอย่างใดอย่างหนึ่งได้ โดยใช้เงื่อนไขเป็นตัวกำหนดการทำงานตามคำสั่ง โดยทั่วไปโปรแกรมจะกำหนดเอาไว้ว่าถ้าเงื่อนไขเป็นจริงโปรแกรมจะไปทำงานอย่างหนึ่ง แต่ถ้าเงื่อนไขเป็นเท็จโปรแกรมก็จะไปทำงานอีกอย่างหนึ่ง นั่นก็หมายความว่า โปรแกรมจะเลือกทำงานทิศทางใดทิศทางหนึ่งเท่านั้น เช่น เมื่อเราขับขี่รถไปถึงทางสามแยก เราจะต้องตัดสินใจไปทางใดทางหนึ่ง ไม่สามารถวิ่งไปทั้งสองทางได้ในเวลาเดียวกัน
3. การทำงานแบบวนซ้ำ
การทำงานแบบวนซ้ำ (Loop)เป็นการนำคำสั่งมาทำงานซ้ำหลายๆ รอบ จะทำงานกี่รอบขึ้นอยู่กับเงื่อนไขที่ผู้เขียนโปรแกรมกำหนดไว้ ซึ่งอาจจะเป็นการกำหนดจำนวนรอบที่แน่นอน เช่น ตั้งใจว่าจะวิ่งรอบสนาม 3 รอบ คือรู้แน่นอนว่าจะทำงานกี่รอบ หรือแบบจำนวนรอบไม่แน่นอน เช่น ตั้งใจว่าจะวิ่งรอบสนามไปเรื่อยๆ เหนื่อยเมื่อไหร่จึงจะหยุดวิ่ง คือไม่แน่ชัดว่าจะทำงานกี่รอบ
Sequence Flowchart
The flowchart above demonstrates a sequence of steps. The reader would start at the Start shape and follow the arrows from one rectangle to the other, finishing at the End shape. A sequence is the simplest flowcharting construction. You do each step in order.
If your charts are all sequences, then you probably don't need to draw a flowchart. You can type a simple list using your word processor. The power of a flowchart becomes evident when you include decisions and loops.
Decision Flowchart
This structure is called a decision, "If Then.. Else" or a conditional. A question is asked in the decision shape. Depending on the answer the control follows either of two paths. In the chart above, if the temperature is going to be less than freezing (32 degrees Fahrenheit) the tomatoes should be covered. Most RFFlow stencils include the words "Yes" and "No" so you can just drag them onto your chart. "True" and "False" are also included in most of the flowcharting stencils.
Loop Flowchart
This structure allows you to repeat a task over and over. The red chart above on the left does the task and repeats doing the task until the condition is true. The green chart on the right checks the condition first and does the task while the condition is true. It is not important that you remember whether the loop is a "Do While" or "Repeat Until" loop, only that you can check the condition at the start of the loop or at the end. You can also have the conditions reversed and your loop is still a structured design loop. A slight variation of the above is the "For each...do the following" loop shown below.
0 Comments:
Post a Comment
Subscribe to Post Comments [Atom]
<< Home